กระเป๋าสานผักตบชวา กระเป๋าเงิน, กระเป๋าใส่เศษเหรียญ, ถาดรอง,กล่องทิชชู่ , เสื้ออ่อน

การสร้างความรู้ การสร้างแนวทางการพัฒนาและการสร้างแนว ทางการปฏิบัติรวมถึงใช้เทคนิคการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อน าแนวทางที่ได้ไปพัฒนาสินค้า หัตถกรรมสร้างสรรค์ต้นแบบ ผลการวิจัยพบว่า สินค้าหัตถกรรมใหม่ทั้ง 10 ชิ้น ซึ่งเกิดจาก การสร้างสรรค์ของชาวบ้านซึ่งเป็นผู้ผลิตแท้จริง ไม่ใช่นายทุน

“การศึกษาแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะและวัฒนธรรม สร้างสรรค์“หมู่บ้านถวาย” (หมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบของประเทศไทย) อย่างยั่งยืน ” (Thanitbenjasith, 2017) พบว่าหมู่บ้านถวายสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและมี มาตรฐานได้ เนื่องจากหมู่บ้านถวายเป็นหมู่บ้านที่ประกอบไปด้วยทรัพยากรและทุนทางการท่องเที่ยว ต่างๆที่มีความเป็นเอกลักษณ์ในงานหัตถกรรมไม้แกะสลัก ได้แก่ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคม ทุน มนุษย์ แต่ยังพบอุปสรรคด้านโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนแหล่งท่องเที่ยวยังมีไม่เพียงพอ ไม่ได้ มาตรฐาน เช่น ห้องน้ า ป้ายบอกทาง ศูนย์อาหาร ที่พักนักท่องเที่ยว รวมถึงด้านนักท่องเที่ยวและด้าน การตลาดท่องเที่ยวที่ยังขาดจุดดึงดูดทางการท่องเที่ยว การสร้างอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และตราสินค้า ของแหล่งท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมเชื่อมโยงที่เป็นที่ต้องการ การประชาสัมพันธ์และส่งเสริม การตลาดที่เหมาะสมทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าบ้านถวายขาดระบบกลไกในการบริหารจัดการที่ดี มีการ บริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนไม่มากพอแก่การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้โดดเด่น ให้เป็นที่ ดึงดูดใจและสร้างความพึงพอใจแก่นักท่องเที่ยวและผู้พบเห็นหรือแขกผู้มาเยือนได้ ด้วยเหตุนี้คณะผู้ ศึกษาจึงได้ช่วยจัดท าแผนยุทธศาสตร์ชุมชนและได้บรรจุเรื่องของการบริหารจัดการและพัฒนาสินค้า หัตถกรรมโดยชุมชนให้อยู่ในแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลขุนคง พ.ศ.2557–2559 ซึ่งเป็น โครงการจากชุมชนที่คิดร่วมกันเพื่อการพัฒนาต่อยอดต่อไปให้เกิดความยั่งยืน และนอกจากนี้ผล การศึกษายังพบอีกว่า หากผู้ผลิตและผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการการพัฒนา สินค้าหัตถกรรมโดยชุมชนบ้านถวาย

จักสาน

อุปกรณ์และวิธีการ

1) ศึกษาบริบทและเพิ่มพูนองค์ความรู้รวมทั้งพัฒนาสินค้าหัตถกรรม เพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวบ้านถวาย โดยใช้การจัดกิจกรรมถอดองค์ความรู้เพื่อค้นหาสินค้าหัตถกรรมที่เป็นอัตลักษณ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว 2) การจัดกิจกรรมที่ 1 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เรื่อง การถอดองค์ความรู้เพื่อค้นหาสินค้า หัตถกรรมที่เป็นอัตลักษณ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มไม้แกะสลัก/กลุ่มของที่ ระลึก/ กลุ่มจักสาน โดยใช้แนวคิดและเทคนิค เรื่อง การเล่าเรื่อง (storytelling) และแผนที่ความคิด (mind mapping) กลุ่มที่ 1 กลุ่มไม้แกะสลัก วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2558/กลุ่มที่ 2 กลุ่มของที่ ระลึก วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2558/กลุ่มที่ 3 กลุ่มจักสาน วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2558 ณ ห้อง พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ประชุมนานาชาติ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ 3) การจัดกิจกรรมที่ 2 เป็นกิจกรรมรวมของทั้ง 3 กลุ่ม เรื่องการประชุมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาสินค้าหัตถกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ด้วย ความร่วมมือของ สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดย ใช้แนวคิดและเทคนิค เรื่อง การสร้างแรงบันดาลใจ (inspiring) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) แนวทางการผลิตสินค้าแบบสร้างสรรค์ วันที่ 28-30 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องพิพิธภัณฑ์ ศูนย์ประชุมนานาชาติ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ 4) การจัดกิจกรรมที่ 3 เป็นกิจกรรมรวมของทั้ง 3 กลุ่ม เรื่องการประชุมเชิงปฏิบัติการด้าน การบริหารจัดการเพื่อพัฒนาสินค้าหัตถกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (พฤติกรรมและความต้องการสินค้าหัตถกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว การผลิต การตลาด การ บริหาร) วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2558 ณ ห้องรัฐมนตรี มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ 5) การจัดกิจกรรมที่ 4 เป็นกิจกรรมรวมของทั้ง 3 กลุ่ม โดยการจัดกิจกรรมการเปิดตัว ประกวดสินค้า และการจัดแสดงสินค้าหัตถกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้า หัตถกรรมต้นแบบตลอดจนสินค้าหัตถกรรมดั้งเดิมอื่นๆที่สนับสนุนการท่องเที่ยว วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2558 ณ ลานโปรโมชั่น 1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่

ศูนย์จัดแสดง จำหน่ายและกระจายสินค้า OTOP เชียงใหม่

กระเป๋าจักสานแฮนด์เมด จากไม้ไผ่ และหวาย สามารถสะพาย และ เก็บสายเป็นถือได้ มีซับด้านในกระเป๋า สร้างเอกลักษณ์ ด้วยงานจักสาน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน รับรองคุณภาพ โดย ศูนย์ โอทอป เชียงใหม่ ธุรกิจประกอบการ ท้องถิ่น ยกระดับ ฐานะ ความเป็นอยู่ ของคนในชุมชน ให้ดีขึ้น มีจุดเด่น เป็นเอกลักษณ์ ของตนเอง ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม

มุ่งมั่น

สนใจผลิตภัณฑ์

กระเป๋าถือไผ่สาน สวยๆ

กระเป๋าถือสานไม้ไผ่ ที่เป็นเอกลักษณ์ งานแฮนเมดทำด้วยมือ จากช่างฝีมือ สืบสานภูมิปัญญาการสานไม้ไผ่ สร้างรายได้สินค้าจากชุมชน รับรองคุณภาพ โดย ศูนย์ โอทอป เชียงใหม่.

...
"กระเป๋าสานสะพายข้าง"

เป็นการนำภูมิปัญญา จักสานไม้ไผ่ ของชาวบ้านมาต่อยอด เพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้าน โดยผ่านขบวนการ ทางความคิด สร้างสรรค์ และฝีมือ ความตั้งใจ ของชาวบ้าน ซึ่งมีมาช้านานแล้ว และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน รับรองคุณภาพโดย ศูยน์ โอทอป เชียงใหม่.

ลูกค้ารีวิว (24)

...
กระเป๋าสานสายเชือก

กระเป๋าจักสานแฮนด์เมด จากไม้ไผ่ หูจับเป็นสายเชือก แต่งด้วยผ้าคาดลายไทย และ ลูกปัดไม้ สร้างเอกลักษณ์ ด้วยงานจักสาน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน รับรองคุณภาพ โดย ศูนย์ โอทอป เชียงใหม่.

ลูกค้ารีวิว (48)

...
กระเป๋าสาน Hand Made ของดี OTOP

สินค้าOTOP กระเป๋าสาน.

ลูกค้ารีวิว (74)